NATUR Thailand

Featured Stories:

“เนเจอร์” เปิดตัวจุกนมนวัตกรรม “NATUR INFINIT” ตอบโจทย์คุณแม่ยุคใหม่

นายทวี เอกสุวรรณเจริญ ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เนเจอร์ คอร์ปอเรชั่น จำกัด ผู้ผลิตและจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์สำหรับเด็กภายใต้แบรนด์ NATUR,...

1-6 สัปดาห์แรกของคุณแม่ตั้งครรภ์เป็นอย่างไรบ้าง ?

NATUR ชวนคุณแม่ตั้งครรภ์มาเช็ก 6 อาการสำคัญและการเปลี่ยนแปลงในช่วง 1-6 สัปดาห์แรกนั้น เป็นอย่างไรบ้าง?  ประจำเดือนขาด โดยปกติรอบเดือนของผู้หญิงจะมีระยะเวลา 21-35 วัน...

How to จัดกระเป๋าคุณแม่มือใหม่ให้พร้อม เตรียมรับวันคลอดของเบบี๋

ในช่วงที่ใกล้คลอด คุณแม่ควรจัดเตรียมกระเป๋าของใช้สำหรับไปโรงพยาบาลในวันคลอดให้พร้อม หากคุณแม่มีอาการเจ็บท้องหรือมีนัดคุณหมอจะได้ไม่ลืมเอกสารของใช้สำคัญ โดยไม่ฉุกละหุกจนสร้างความกังวลใจให้แก่คุณแม่ MOM ต้องมี! ของใช้สำหรับคุณแม่ หน้ากากอนามัย เสื้อผ้าสำหรับกลับบ้าน (ให้นมได้) ...

15-28 สัปดาห์แรกของคุณแม่ตั้งครรภ์เป็นอย่างไรบ้าง ?

NATUR ชวนคุณแม่ตั้งครรภ์มาเช็กอาการสำคัญและการเปลี่ยนแปลงในช่วง 15-28 สัปดาห์แรกนั้น รวมถึงพัฒนาการของลูกน้อยในครรภ์ช่วง 4-6 เดือนแรกมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรกันบ้าง พร้อมเช็กสุขภาพและอาการของคุณแม่ให้พร้อมรับเบบี๋ตัวน้อยกัน! น้ำหนักขึ้นหุ่นเริ่มเปลี่ยน คุณแม่จะรู้ตัวแล้วว่าน้ำหนักเริ่มขึ้นมาค่อนข้างเร็ว ...

7-14 สัปดาห์แรกของคุณแม่ตั้งครรภ์เป็นอย่างไรบ้าง ?

NATUR ชวนคุณแม่ตั้งครรภ์มาเช็กอาการสำคัญและการเปลี่ยนแปลงในช่วง 7-14 สัปดาห์แรกนั้น รวมถึงพัฒนาการของลูกน้อยในครรภ์ช่วง 2-3 เดือนแรกมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรกันบ้าง พร้อมเช็กสุขภาพและอาการของคุณแม่ให้พร้อมรับเบบี๋ตัวน้อยกัน! แพ้ท้องชัดเจน อาการแพ้ท้องอาจยังมีอยู่ต่อเนื่อง ได้แก่ อาการเวียนศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน เหม็นกลิ่นอาหาร โดยเฉพาะในช่วงเช้า (Morning Sickness) มากขึ้น วิธีดูแลตัวเองคือกินยาลดอาเจียนและวิงเวียน จิบน้ำขิงหรือน้ำหวานอุ่น ๆ ในตอนเช้า กินขนมปังกรอบแก้คลื่นไส้ หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้นอาการคลื่นไส้อาเจียน เช่น...

29-40 สัปดาห์แรกของคุณแม่ตั้งครรภ์เป็นอย่างไรบ้าง ?

NATUR ชวนคุณแม่ตั้งครรภ์มาเช็กอาการสำคัญและการเปลี่ยนแปลงในช่วง 29-40 สัปดาห์แรกนั้น รวมถึงพัฒนาการของลูกน้อยในครรภ์ช่วง 7-9 เดือนแรกมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรกันบ้าง พร้อมเช็กสุขภาพและอาการของคุณแม่ให้พร้อมรับเบบี๋ตัวน้อยกัน! ปวดหลัง เพราะหลังของคุณแม่ต้องรับน้ำหนักมากขึ้น รวมทั้งกระดูกเชิงกรานก็ต้องรับน้ำหนักเพิ่มขึ้นอีก ทำให้คุณแม่ปวดหลัง ปวดสะโพก การป้องกันแก้ไขคือต้องปรับท่าทางการยืนให้ตรง เดินให้ตัวตรงมั่นคงไม่ยกของหนักหรือก้มตัวเก็บของ สวมรองเท้าส้นเตี้ยที่เดินสบาย ไม่ยืนหรือเดินนานเกินไป จะช่วยลดอาการปวดหลังของคุณแม่ได้ ปัสสาวะบ่อย เกิดจากมดลูกที่ใหญ่ขึ้นไปกดทับกระเพาะปัสสาวะ โดยเฉพาะเวลาลูกดิ้นก็อาจจะยิ่งทำให้คุณแม่ต้องเข้าห้องน้ำบ่อยขึ้น “ควรหมั่นสังเกตตนเองขณะตั้งครรภ์ หากรู้สึกผิดสังเกตให้รีบไปพบแพทย์ทันที”  หายใจลำบาก ด้วยเพราะลูกน้อยที่เติบโตขึ้นร่วมกับมดลูกขนาดใหญ่ที่อาจจะไปเบียดปอด ทำให้คุณแม่อาจมีอาการหายใจไม่สะดวก หายใจไม่ทันหรือเหนื่อยหอบได้ แต่หากหอบมากหรือมีอาการหายใจไม่ออก...

Growth Hormone คืออะไร มีผลอย่างไรต่อพัฒนาการเบบี๋! ในช่วงวัย 1-12 เดือน

รู้หรือไม่โกรทฮอร์โมนคืออะไร สำคัญแค่ไหนต่อเบบี๋!  โกรทฮอร์โมน  (Growth Hormone)  คือฮอร์โมนแห่งการเจริญเติบโตที่สำคัญสำหรับเด็ก ซึ่งร่างกายลูกผลิตขึ้นเองได้ โดยหลั่งมาจากต่อมไร้ท่อที่สร้างจากต่อมใต้สมอง ฮอร์โมนนี้จะช่วยกระตุ้นการเติบโต สร้างและซ่อมแซมเนื้อเยื่อต่าง ๆ ของร่างกาย เสริมสร้างภูมิต้านทานไม่ให้ลูกน้อยเจ็บป่วยง่าย และช่วยในเรื่องของความจำและพัฒนาการด้านสมอง ลูกนอนหลับดีโกรทฮอร์โมนหลั่งดีตามไปด้วย เพราะโกรทฮอร์โมนจะหลั่งในช่วงหลับสนิท จึงควรให้ลูกได้นอนพักผ่อนเพียงพอตามที่ร่างกายต้องการ ลูกก็จะเติบโตมาแข็งแรงอารมณ์ดี เรียนรู้ ได้ดีอยู่เสมอ แนะนำให้เข้านอน และตื่นนอนให้ตรงเวลาสม่ำเสมอทุกวัน เพื่อสร้างสุขลักษณะการนอนที่ดีให้ลูกน้อย ชวนคุณพ่อคุณแม่มาทำความรู้จักพัฒนาการรอบด้านของลูกน้อยวัยแรกเกิด - 2 ปี พร้อมเรียนรู้เทคนิคการส่งเสริมและกระตุ้นพัฒนาการลูกให้ก้าวหน้า...

เรียนรู้ลูกน้อยหลังลืมตาดูโลกเป็นวันแรกกันเถอะ !

ยินดีต้อนรับเจ้าตัวน้อยของคุณแม่กลับบ้าน ซึ่งจะเป็นช่วงเวลาที่คุณแม่จะต้องเรียนรู้ลูกรักและตอบสนองความต้องการของลูกตลอดเวลา ด้วยเพราะลูกต้องปรับตัวกับโลกใหม่ โดยมีคุณพ่อคุณแม่ที่ทุ่มเทกายและใจดูแลลูกน้อยตลอดเวลา ซึ่งแม้จะเป็นคุณพ่อคุณแม่มือใหม่ก็สามารถดูแลลูกน้อยได้แบบมืออาชีพ แค่เพียงรู้จัก เข้าใจ และพร้อมจะเรียนรู้ไปกับลูกทุกด้าน ทั้งพัฒนาการ การนอน การขับถ่าย เพื่อให้สามารถดูแลกิจวัตรประจำวันให้ลูกได้อย่างมีความสุข มาเริ่มต้นทำความรู้จักลูกรักในวัยแรกเกิดกันก่อน ดูซิว่าเบบี๋จะมีลักษณะและอาการเป็นอย่างไร เพื่อให้คุณแม่สามารถดูแลและช่วยเหลือลูกได้อย่างทันท่วงที รู้จักเบบี๋หลังคลอด ลูกมีไขมันที่หนังศีรษะ หนังศีรษะของลูกรักอายุระหว่าง 2 สัปดาห์ - 3 เดือนมักจะมีไขมัน (Cradle Cap) ที่มีลักษณะคล้ายรังแค เป็นสะเก็ดสีเหลืองหรือสีน้ำตาล...

ชวนแม่เช็ก! หัวนมแบบไหนที่เรียกว่า “ผิดปกติ”

ในขณะที่คุณแม่ตั้งครรภ์ควรตรวจลักษณะของเต้านมและหัวนมของตัวเอง เพื่อเช็กความผิดปกติของหัวนม เช่น หัวนมบอด หัวนมสั้น หัวนมแบนหรือบุ๋ม รวมถึงหัวนมใหญ่ ซึ่งสามารถแก้ไขได้ และยิ่งแก้ได้เร็วเท่าไร ลูกรักก็จะได้รับคุณค่าจากนมแม่ได้เร็วยิ่งขึ้น ระหว่างการฝากท้อง หากคุณแม่มีปัญหาเกี่ยวกับหัวนม ควรให้แพทย์ตรวจประเมินหัวนมด้วยเพื่อแก้ไขและดูแลตั้งแต่ก่อนคลอด ให้คุณแม่สามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้อย่างไม่มีอุปสรรค หัวนมแบบไหนผิดปกติ  คุณแม่ควรตรวจสอบหัวนมตัวเองด้วยวิธีที่เรียกว่า Pinch Test คือการวางหัวแม่มือและนิ้วชี้ไว้ที่ฐานของหัวนมใกล้กับขอบลานนม แล้วกดนิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้เข้าหากันเพื่อบีบหัวนมเบา ๆ หัวนมปกติ หัวนมของคุณแม่จะยื่นออกมาจาก ลานนมปกติประมาณ 1 เซนติเมตร หัวนมสั้น หัวนมจะอยู่กับที่หรือเคลื่อน เล็กน้อย พบได้ค่อนข้างมาก หัวนมบอด หัวนมของคุณแม่จะหดตัวกลับ...

หลังคลอดน้ำนมมาน้อย คุณแม่แก้ไขอย่างไรดีนะ ?

อีกหนึ่งในความกังวลใจของแม่ๆ หลังคลอดส่วนใหญ่ คือ นมแม่มีน้อย กลัวไม่พอให้ลูกทาน สำหรับเรื่องนี้จริงๆแล้ว สามารถแก้ไขได้ ขอเพียงคุณแม่ไม่ให้นมชนิดอื่นๆ กับลูก และใจเย็นๆ โดยต้องเข้าใจว่าลูกต้องการทานนมแค่ปริมาณนิดเดียวเท่านั้น วันนี้ NATUR มีวิธีดีๆ มาช่วยคุณแม่มือใหม่กระตุ้นนมแม่ด้วยวิธีเหล่านี้กันค่ะ ! เทคนิคกระตุ้นนมแม่หลังคลอด ใช้หลัก 4 ดูด คือ  ให้ลูกดูดเร็วหลังคลอดทันที  ดูดบ่อย...
spot_imgspot_img

Popular articles

“เนเจอร์” เปิดตัวจุกนมนวัตกรรม “NATUR INFINIT” ตอบโจทย์คุณแม่ยุคใหม่

นายทวี เอกสุวรรณเจริญ ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เนเจอร์ คอร์ปอเรชั่น จำกัด ผู้ผลิตและจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์สำหรับเด็กภายใต้แบรนด์ NATUR,...

1-6 สัปดาห์แรกของคุณแม่ตั้งครรภ์เป็นอย่างไรบ้าง ?

NATUR ชวนคุณแม่ตั้งครรภ์มาเช็ก 6 อาการสำคัญและการเปลี่ยนแปลงในช่วง 1-6 สัปดาห์แรกนั้น เป็นอย่างไรบ้าง?  ประจำเดือนขาด โดยปกติรอบเดือนของผู้หญิงจะมีระยะเวลา 21-35 วัน...

How to จัดกระเป๋าคุณแม่มือใหม่ให้พร้อม เตรียมรับวันคลอดของเบบี๋

ในช่วงที่ใกล้คลอด คุณแม่ควรจัดเตรียมกระเป๋าของใช้สำหรับไปโรงพยาบาลในวันคลอดให้พร้อม หากคุณแม่มีอาการเจ็บท้องหรือมีนัดคุณหมอจะได้ไม่ลืมเอกสารของใช้สำคัญ โดยไม่ฉุกละหุกจนสร้างความกังวลใจให้แก่คุณแม่ MOM ต้องมี! ของใช้สำหรับคุณแม่ หน้ากากอนามัย เสื้อผ้าสำหรับกลับบ้าน (ให้นมได้) ...

15-28 สัปดาห์แรกของคุณแม่ตั้งครรภ์เป็นอย่างไรบ้าง ?

NATUR ชวนคุณแม่ตั้งครรภ์มาเช็กอาการสำคัญและการเปลี่ยนแปลงในช่วง 15-28 สัปดาห์แรกนั้น รวมถึงพัฒนาการของลูกน้อยในครรภ์ช่วง 4-6 เดือนแรกมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรกันบ้าง พร้อมเช็กสุขภาพและอาการของคุณแม่ให้พร้อมรับเบบี๋ตัวน้อยกัน! น้ำหนักขึ้นหุ่นเริ่มเปลี่ยน คุณแม่จะรู้ตัวแล้วว่าน้ำหนักเริ่มขึ้นมาค่อนข้างเร็ว ...

7-14 สัปดาห์แรกของคุณแม่ตั้งครรภ์เป็นอย่างไรบ้าง ?

NATUR ชวนคุณแม่ตั้งครรภ์มาเช็กอาการสำคัญและการเปลี่ยนแปลงในช่วง 7-14 สัปดาห์แรกนั้น รวมถึงพัฒนาการของลูกน้อยในครรภ์ช่วง 2-3 เดือนแรกมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรกันบ้าง พร้อมเช็กสุขภาพและอาการของคุณแม่ให้พร้อมรับเบบี๋ตัวน้อยกัน! แพ้ท้องชัดเจน อาการแพ้ท้องอาจยังมีอยู่ต่อเนื่อง...